|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ มีอาชีพรับจ้าง อาชีพค้าขาย และอาชีพรับราซการบ้างเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ ดังนี้ |
|
อาชีพเกษตรกรรม ประมาณ 60% |
|
อาชีพรับจ้าง ประมาณ 20% |
|
อาชีพค้าขาย ประมาณ 15% |
|
อาชีพรับราซการ ประมาณ 5% |
|
|
|
|
|
 |
|
สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบ สลับลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดซันไม่เกิน ร้อยละ 2 โดยลาดเอียงเล็กน้อยจากทิศให้ และทิศตะวันตกเวียงใต้ซึ่งเป็นภูเขาลูกรังเตี้ย ซึ่งเป็นที่รายลุ่มติดเขตบึงบอระเพ็ด โดยมีถนนลูกวังเป็นแนวคันดินกั้นน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติของตำบลเป็นลำห้วย ลำคลองสายสั้นๆ มีสภาพตื้นเขินและแห้งในฤดูร้อน จึงใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรได้น้อยแต่เป็น ช่องทางระบายน้ำหลากได้ดี |
|
|
|
 |
|
สภาพภูมิอากาสโดยทั่วไปมีลักษณะร้อนชื้น มีช่วงฤดูฝน และฤดูแล้งที่เด่นชัด ฤดูฝ่นได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ อยู่ในช่วงเดือนตุลาคม ส่วนฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนตุลาคม ถึงมกราคม ได้รับอิทธิพลความเย็นมาจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ |
|
|
|
|
|
 |
|
ประชาชนในตำบลพระนอน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 99.76 รองลงมา คือ ศาสนาคริสต์และอิสลาม ร้อยละ 0.18 และ 0.60 ตามลำดับ มีวัด จำนวน 10 แห่ง ดังนี้ |
|
วัดราษฏร์บำรุง |
หมู่ที่ 1 |
|
วัดบ้านไร่ |
หมู่ที่ 2 |
|
วัดหัวดง |
หมู่ที่ 5 |
|
วัดพระนอน |
หมู่ที่ 8 |
|
วัดรังงาม |
หมู่ที่ 9 |
|
วัดเขาคีรีสวรรค์ |
หมู่ที่ 10 |
|
วัดพลุชะพลูใต้ |
หมู่ที่ 11 |
|
วัดศรีเจริญธรรม |
หมู่ที่ 11 |
|
วัดราฏร์เจริญ(ห้วยลึก) |
หมู่ที่ 13 |
|
วัดศรีมงคล |
หมู่ที่ 15 |
(ข้อมูลวัด : Click) |
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
วัฒนธรรมประเพณีของชาวตำบลพระนอน เป็นมรดกเก่าแก่ที่สืบทอดมาเป็นเวลานาน มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีปรากฏชัดเจน วิถีชีวิตของชาวตำบลพระนอน ได้มีวิวัฒนาการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ประเพณีและวัฒนธรรมของชาวตำบลพระนอน ที่น่าสนใจมีดังนี้ |
|
ทำบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ |
|
ประเพณีสงกรานต์ |
|
แห่เทียนจำนำพรรษาทุกหมู่บ้าน |
|
ประเพณีเผาข้าวหลาม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลพระนอน |
|
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 5 แห่ง |
|
|
โรงเรียนวัดบ้านไร่ |
|
|
โรงเรียนวัดพระนอน |
|
|
โรงเรียนวัดรังงาม |
|
|
โรงเรียนบ้านปากดง (เทียนศรีประสิทธิ์) |
|
|
โรงเรียนบ้านเขากะลา |
|
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 1 แห่ง |
|
ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน จำนวน 6 แห่ง |
|
|
|
|
|
 |
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง คือ |
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวครัก |
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบถบ้านพระนอน |
|
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
|
|
|
|
|
 |
|
|
ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ศูนย์รับแจ้งเหตุ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ศูนย์บริการประชาชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) |
|
อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) |
|
|
|
|
|
|
 |
|
ตำบลพระนอน มีเส้นทางหลัก 3 สาย ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3004 ซึ่งเป็นเส้นทางหลักเชื่อมโยงระหว่างศูนย์กลางจังหวัด กับชุมชนเมืองตะวันออกของจังหวัด ได้แก่ อำเภอท่าตะโก อำเภอหนองบัว และบางส่วนของจังหวัดเพชรบูรณ์ |
|
|
|
 |
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
|
บีงบอระเพ็ด เชื่อมต่อ หมู่ 1,3,4,5,6 และหมู่ 9 |
|
|
ลำน้ำ, สำห้วย จำนวน 1 สาย |
|
|
คลองส่งน้ำ จำนวน 3 แห่ง |
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |
|
|
บ่อบาดาล จำนวน 64 แห่ง |
|
|
สระน้ำ จำนวน 14 แห่ง |
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
การให้บริการด้านน้ำประปาส่วนภูมิภาค ภายในตำบลพระนอน ของการประบำาส่วนภูมิภาคจังหวัดนครสวรรค์ มี หมู่ 1, หมู่ 2 |
|
มีระบบประปาหมู่บ้าน จำนวน 2 แห่ง |
|
ส่วนประปาของอบต.พระนอน มี 4 หมู่ ได้แก่ หมู่ 9 , หมู่ 13 , หมู่ 12 และหมู่ 15 |
|
|
|
|
 |
|
|
เสียงตามสาย/หอกระจายข่าว |
|
ตำบลพระนอน มีเสาสัญญาณโทรศัพท์มือถือครอบคลุมทุกพื้นที่ |
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียงตำบลพระนอน |
|
ศูนย์จำหน่ายสินค้า OTOP |
|
|
|
|
 |
|
|
ยาสีฟันสมุนไพร ผลิตโดยใช้สมุนไพรไทยหลายชนิดผสมผงไพร |
|
|
|
|